#MFUResearchNews
#School_of_Management
Chapter 13
พบกับงานวิจัยและนวัตกรรมของสำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 23-24 กรกฎาคม 2567 กับแนวคิด “การจัดการสู่การขับเคลื่อนคุณภาพชีวิตที่ดี” ประกอบด้วยผลงานดังนี้
1. การเพิ่มความพร้อมในการรับมือภัยพิบัติแผ่นดินไหวของโรงพยาบาลในพื้นที่รอยเลื่อนมีพลังด้วยการปรับปรุงระบบโลจิสติกส์โรงพยาบาล: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคเหนือตอนบน หัวหน้าโครงการ ผศ.ดร.ณรัฐ หัสชูและคณะ งานวิจัยชิ้นนี้ได้รับทุนอุดหนุนวิจัยจาก ภารกิจการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเพิ่มความพร้อมในการรับมือภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวให้แก่โรงพยาบาลของรัฐในเขตจังหวัดชายแดนภาคเหนือตอนบนจำนวน 11 แห่งที่ซึ่งตั้งอยู่บนรอยเลื่อนมีพลังจำนวนมากถึง 11 รอยเลื่อน โดยประเมินจากระดับความสามารถในการป้องกันและรับมือแผ่นดินไหวด้วยตัวชี้วัดขององค์การอนามัยโลก (2019) ร่วมกับการวิเคราะห์ระบบโลจิสติกส์ของโรงพยาบาล โดยผลการศึกษาพบว่าโรงพยาบาลกลุ่มตัวอย่างมีระดับความสามารถในการป้องกันอยู่ในระดับปานกลาง ในขณะที่ความพร้อมในการรับมือนั้นอยู่ในระดับต่ำ งานวิจัยชิ้นนี้จึงได้นำผลการประเมินของแต่ละโรงพยาบาลร่วมกับผลการวิเคราะห์ระบบโลจิสติกส์โรงพยาบาลมาพัฒนาเป็นคู่มือป้องกันและเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติแผ่นดินไหวสำหรับแต่ละแห่งในการเพิ่มความพร้อมในการรับมือภัยพิบัติแผ่นดินไหวต่อไปในอนาคต
2. Research on temporal diversity in GVTs: limitations and a new research agenda. Dr.Justin Kraemer (Head of the research project). In addition to cultural and demographic diversity, temporal diversity is increasingly recognized as a crucial factor affecting the dynamics and performance of global virtual teams (GVTs). However, research on temporal diversity tends to analyze the effects of only one source of timing differences at a time: either only time-zone differences or only chronotype differences among the team members. Such a single-focus approach is limiting, and could lead to biased conclusions. We provide a conceptual model that shows how analyzing only one source of temporal diversity at a time can produce an incomplete and even misleading picture. Based on the analysis of different temporal activation patternings, namely the arrangements of timing when team members can fully engage in project-related tasks, we demonstrate how the interplay between time zones and chronotypes can exacerbate or mitigate temporal diversity, resulting in temporal patterns that could be more or less advantageous for a GVT, depending on the team characteristics and nature of its task. We discuss the implications of failing to simultaneously consider both sources of temporal differences when analyzing timing differences among GVT members and provide a guide for future research and practice for handling the issue of temporal diversity more effectively.
……..
MFU Research Expo มีวัตถุประสงค์ดังนี้:
ภายในงานจะมีกิจกรรมดังนี้:
กิจกรรมจะจัดขึ้น ณ ห้องคำมอกหลวง และลานชั้น 5 อาคาร M-SQUARE มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
School of Management, Mae Fah Luang University